สำหรับการจัดการ Array นั้น JavaScript ก็มี built-in utilities มาให้ใช้เยอะแยะมากมาย แต่ในบทความนี้ จะหยิบมา 10 ฟังก์ชันที่ควรรู้ ซึ่งมีอะไรบ้าง ไปดูกันเล๊ยยยย
1. forEach()
ฟังก์ชันที่วนลูปแต่ละ element ใน array โดยไม่มี return
const arr = [1, 2, 3, 4, 5, 6];
arr.forEach(item => {
console.log(item); // output: 1 2 3 4 5 6
});
2. includes()
ฟังก์ชันนี้จะตรวจสอบค่า element ที่ให้มาว่ามีใน list หรือไม่? ถ้ามี return true ถ้าไม่มี return false
const arr = [1, 2, 3, 4, 5, 6];arr.includes(2); // output: true
arr.includes(7); // output: false
3. filter()
ฟังก์ชัน return new array สำหรับ element ที่ตรงตามเงื่อนไข
const arr = [1, 2, 3, 4, 5, 6];// ค้าหา element ที่มีค่ามากกว่า 3
const filtered = arr.filter(num => num > 3);
console.log(filtered); // output: [4, 5, 6]
4. map()
ฟังก์ชันนี้จะคล้ายๆกับ forEach() แต่จะต่างที่มี return เป็น new array
const arr = [1, 2, 3, 4, 5, 6];//เพิ่มค่าบวก 1 ทุก element
const oneAdded = arr.map(num => num + 1);
console.log(oneAdded); // output [2, 3, 4, 5, 6, 7]
5. reduce()
ฟังก์ชันที่เข้าถึงทุก element ของ array แล้ว return ค่าเพียงค่าเดียว หลังจากได้ result หรือ ผ่านเงื่อนไข (condition)
const arr = [1, 2, 3, 4, 5, 6];const sum = arr.reduce((total, value) => total + value, 0);
console.log(sum); // 21
6. some()
ฟังก์ชันตรวจสอบเงื่อนไข (condition) โดยถ้ามีแค่ element ใด element หนึ่ง ใน list ตรงตามเงื่อนไข จะ return ture ถ้าไม่ return false
const arr = [1, 2, 3, 4, 5, 6];// มี element อย่างน้อง 1 element ที่มีค่ามากกว่า 4 หรือไม่?
const largeNum = arr.some(num => num > 4);
console.log(largeNum); // output: true// มี element อย่างน้อง 1 element ที่มีค่าน้อยกว่าหรือเท่ากับ 0 หรือไม่?
const smallNum = arr.some(num => num <= 0);
console.log(smallNum); // output: false
7. every()
ฟังก์ชันตรวจสอบเงื่อนไข (condition) โดยถ้าทุก element ใน list ตรงตามเงื่อนไข จะ return ture ถ้าไม่ return false
const arr = [1, 2, 3, 4, 5, 6];
// ทุก element มีค่ามากกว่า 4 หรือไม่?
const greaterFour = arr.every(num => num > 4);
console.log(greaterFour); // output: false
// ทุก element มีค่าน้อยกว่า 10หรือไม่?
const lessTen = arr.every(num => num < 10);
console.log(lessTen); // output: true
8. sort()
ฟังก์ชันจัดเรียงลำดับ element ใน array
const arr = [1, 2, 3, 4, 5, 6];const arr = [1, 2, 3, 4, 5, 6];
const alpha = ['e', 'a', 'c', 'u', 'y'];
//เรียงลำดับจากมากไปน้อย
descOrder = arr.sort((a, b) => a > b ? -1 : 1);
console.log(descOrder); // output: [6, 5, 4, 3, 2, 1]
//เรียงลำดับจากน้อยไปมาก
ascOrder = alpha.sort((a, b) => a > b ? 1 : -1);
console.log(ascOrder); // output: ['a', 'c', 'e', 'u', 'y']
9. Array.from()
ฟังก์ชันสำหรับสร้าง new array จาก array เดิม
const arr = [1, 2, 3, 4, 5, 6];
const clonedArr = Array.from(arr); // output: [1, 2, 3, 4, 5, 6]const name = 'nott';
const nameArray = Array.from(name); // output: ['n', 'o', 't', 't']
และยังสามารถใช้ได้กับ DOM อีกด้วย
const lis = document.querySelectorAll('li');
const lisArray = Array.from(document.querySelectorAll('li'));
// is true array?
console.log(Array.isArray(lis)); // output: false
console.log(Array.isArray(lisArray)); // output: true
10. Array.of()
ฟังก์ชันสำหรับสร้าง new array จาก element ที่กำหนด
const nums = Array.of(1, 2, 3, 4, 5, 6);
console.log(nums); // output: [1, 2, 3, 4, 5, 6]
Reference:
(ข้อมูลอาจมีข้อผิดพลาด ถ้าจะเอาบทความนี้ไปอ้างอิงที่อื่นให้ตรวจสอบให้ดีก่อนนะครับ ขอบคุณครับ)
source : https://medium.com/@siriphonnot/10-%E0%B8%9F%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B9%8C%E0%B8%8A%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%AA%E0%B8%B3%E0%B8%AB%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%9A-array-%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B9%89%E0%B9%83%E0%B8%99%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%A9%E0%B8%B2-javascript-c2614bdaa42a
No comments:
Post a Comment